Mastering knowledge construction skills through a context-aware ubiquitous learning model based on the case method and team-based projects
International Journal of Education and Practice,
Год журнала:
2024,
Номер
12(3), С. 1094 - 1112
Опубликована: Авг. 1, 2024
This
research
aims
to
prove
the
effectiveness
of
a
context-aware
ubiquitous
learning
model
through
case
method
and
team-based
projects
in
enhancing
knowledge
construction
skills
students
regarding
instructional
media.
In
this
analysis,
quasi-experimental
posttest-only
control
group
design
was
used,
with
subjects
comprising
62
students.
These
were
subsequently
split
into
experimental
groups
32
30
participants,
respectively.
An
interaction
analysis
also
used
as
data
collection
instrument
characterize
behavior
construction.
reflected
questionnaire,
an
independent
t-test
statistical
technique
analyze
data.
The
results
showed
that
based
on
project
effective
improving
managing
learning,
lecturers
advised
utilize
educational
strategies
more
oriented
toward
students,
such
active
techniques
including
projects.
Язык: Английский
دور التعلم الرقمي في خفض الفاقد التعليمي لدى الطلبة من وجهة نظر المعلمين في محافظة إربد
Dirasat Educational Sciences,
Год журнала:
2024,
Номер
51(2), С. 348 - 367
Опубликована: Июнь 15, 2024
الأهداف:
هدفت
الدراسة
التعرف
إلى
دور
التعلم
الرقمي
في
خفض
الفاقد
التعليمي
لدى
الطلبة
من
وجهة
نظر
المعلمين
محافظة
إربد.
المنهجية:
اعتمدت
هذه
المنهج
الوصفي،
واستخدمت
استبانة
مكونة
(32)
فقرة
موزعة
على
أربعة
مجالات،
هي:
(الفاقد
المعرفي،
والفاقد
المهاري،
الوجداني،
والهدر
التعليمي)،
طبقت
عينة
(267)
معلمًا
ومعلمة
تم
اختيارهم
بطريقة
العينة
العشوائية.
النتائج:
بينت
النتائج
أن
جاء
بمستوى
مرتفع،
حيث
احتل
مجال
الهدر
الرتبة
الأولى،
تلاه
المهاري
مرتفع
أيضًا،
ثم
المعرفي
متوسط،
بينما
الوجداني
الأخيرة
متوسط.
وأِظهرت
وجود
فروق
جوهرية
تعزى
لمتغيرات
مؤهلاتهم
العلمية
لصالح
فئتي
(الدراسات
العليا،
والبكالوريوس)،
وسنوات
خبرتهم
(أقل
5
سنوات،
و5-
أقل
10
سنوات)،
وتخصصاتهم
تخصص
(الحاسوب
وتكنولوجيا
المعلومات)،
لم
تظهر
لجنسهم.
الخلاصة:
توصى
بضرورة
توظيف
العملية
التعليمية
التعلمية،
وتسهيل
عملية
التحول
نظام
خلال
إعداد
وتدريبهم
مهارات
والتقنيات
التربوية
الحديثة،
والتركيز
تنمية
القدرات
الاجتماعية
والعاطفية
الطلبة،
والعمل
لا
سيما
الوحدة
والعزلة
لديهم.
Project-Based Learning Implementation Effect Comparison on the Students' Cognitive and Psychomotor Learning Outcomes at Indonesian Vocational High School Majoring in Information Technology
Опубликована: Окт. 24, 2023
This
research
examines
the
influence
of
Project-Based
Learning
(PjBL)
implementation
on
student
learning
outcomes
in
context
Basic
Computer
and
Networking
subjects
Indonesian
Vocational
High
Schools
majoring
Information
Technology
during
offline
after
online
due
to
Covid-19
pandemic.
The
used
experimental
method
with
a
static-group
pretest-posttest
design.
sample
was
taken
using
purposive
sampling
technique
28
34
students
as
control
group.
data
collected
included
pre-test
post-test
scores
multiple-choice
questions
measure
cognitive
(CLO).
project
group
practical
were
calculated
psychomotor
(PLO).
study
showed
significant
values
Mann-Whitney
test
for
students'
CLO,
which
0.572,
PLO,
0.015.
effect
size
score
(r)
0.31
based
Cohen's
theory,
falls
into
moderate
category.
proved
that
PjBL
did
not
have
CLO
but
had
PLO.
Язык: Английский
DIGITAL PEDAGOGY: ENHANCING TEACHERS’ COMPETENCE IN TECHNOLOGY-BASED LEARNING MEDIA IN SMKS NGURAH RAI CANGGU
J-ABDI Jurnal Pengabdian kepada Masyarakat,
Год журнала:
2023,
Номер
3(7), С. 1571 - 1578
Опубликована: Ноя. 30, 2023
Teachers
are
expected
to
be
able
improve
their
competencies,
one
of
which
is
mastery
Information
and
Communication
Technology.
It
necessary
support
enjoyable,
effective,
efficient
learning
activities.
This
community
service
activity
aims
teachers'
pedagogical
competence
ability
create
interactive
media.
The
methods
used
in
this
training
lectures,
demonstrations,
practice.
data
collection
technique
uses
a
questionnaire
regarding
participants'
perceptions
the
implementation
training.
Indicators
success
include
level,
behavior
reaction
result
level.
results
obtained
from
processing
on
all
indicators
were
that
participants
agreed
had
gone
well.
In
contrast,
most
believed
provided
profound
benefits
was
very
helpful
improving
personal
quality.
Язык: Английский
Performing Hybrid Learning at Islamic Higher Education Institusions for Mitigating Learning Loss
Deleted Journal,
Год журнала:
2023,
Номер
9(2), С. 223 - 240
Опубликована: Дек. 28, 2023
This
research
delves
into
the
integration
of
hybrid
learning
amidst
digital
disruption,
targeting
reduction
gaps
within
PTKI
(Islamic
Higher
Education
Institutions)
context.
Utilizing
a
blend
quantitative
analysis
student
data
and
qualitative
methods
including
interviews,
surveys,
observations
across
three
PTKIs
in
South
Sumatra,
Indonesia,
study
evaluates
effectiveness
mitigating
loss.
Results
highlight
that
combination
virtual
traditional
classroom
elements
through
significantly
narrows
deficits,
enhances
involvement,
fosters
better
academic
outcomes.
These
findings
serve
as
valuable
contribution
to
understanding
practices
specifically
settings,
shedding
light
on
its
potential
addressing
educational
challenges
amid
advancements.
Язык: Английский
การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์จากภาวะการเรียนรู้ถดถอย
Опубликована: Янв. 1, 2022
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ผู้วิจัย
ได้ศึกษาสาเหตุและผลกระทบของการเกิดภาวะการเรียนรู้ถดถอยและนำข้อมูลดังกล่าวมาสร้างสรรค์ผลงานนาฏยศิลป์
ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหารูปแบบและแนวคิดที่ได้หลังจากการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์จากภาวะการเรียนรู้ถดถอย
โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพและการทดลองและวิจัยสร้างสรรค์ผลงานการแสดงทางด้านศิลปะ
ที่มีการศึกษาข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ
การสัมภาษณ์
การสังเกตการณ์
การสัมมนา
สื่อสารสนเทศ
เกณฑ์การสร้างมาตรฐานในการยกย่องบุคคลต้นแบบทางด้านนาฏยศิลป์และประสบการณ์ส่วนตัวของผู้วิจัย
มาเป็นแนวทางในการวิเคราะห์
สังเคราะห์และสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏยศิลป์
ผลการวิจัยพบว่า
รูปแบบการสร้างสรรค์ในครั้งนี้
แบ่งออกเป็น
8
องค์ประกอบ
ได้แก่
1)
บทการแสดง
ได้มาจากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุและผลกระทบของภาวะการเรียนรู้ถดถอย
โดยแบ่งการแสดงออกเป็น
4
องก์
องก์ที่
1
บทนำ
2
สาเหตุของภาวะการเรียนรู้ถดถอย
3
ผลกระทบของภาวะการเรียนรู้ถดถอย
และองก์ที่
บทสรุป
2)
ลีลานาฏยศิลป์
มีการใช้ลีลานาฏยศิลป์ตะวันตกในรูปแบบต่างๆ
นาฏยศิลป์รูปแบบบัลเลต์คลาสสิก
นาฏยศิลป์รูปแบบแจ๊สสมัยใหม่
นาฏยศิลป์สมัยใหม่
นาฏยศิลป์ร่วมสมัย
�นาฏยศิลป์หลังสมัยใหม่
ที่ใช้การเคลื่อนไหวในชีวิตประจำวัน
และการเคลื่อนไหวลีลาท่าทางแบบทำซ้ำ
การด้นสดและการใช้ศิลปะการแสดง
3)
คัดเลือกนักแสดง
คัดเลือกจากทักษะความสามารถทางด้านนาฏยศิลป์ตะวันตก
การด้นสดและศิลปะการละคร
ประสบการณ์ของผู้แสดง
และมีคุณลักษณะของผู้แสดงอันพึงประสงค์
โดยไม่คำนึงถึงเรื่องเพศและรูปร่าง
จำนวนทั้งสิ้น
7
คน
4)
อุปกรณ์ประกอบการแสดง
ใช้แนวคิดการใช้สัญลักษณ์ในการสื่อความหมายทั้งทางตรงและทางอ้อม
อีกทั้งการคำนึงถึงความเหมาะสมในการเลือกใช้อุปกรณ์ประกอบการแสดง
เก้าอี้
สมุด
ชั้นวางของ
ขนม
หมอน
กระเป๋า
5)
เสียงและดนตรีประกอบการแสดง
ใช้เสียงระฆังโรงเรียน
เสียงเข็มนาฬิกา
เสียงข่าวที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางด้านการเรียนรู้ถดถอย
และปัญหาทางด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้อง
และเสียงดนตรีบรรเลง
6)
เครื่องแต่งกาย
ใช้แนวคิดการใช้สัญลักษณ์ในการออกแบบเครื่องแต่งกายตามบทบาทของตัวละคร
โดยการเลือกใช้เครื่องแต่งกายในชีวิตประจำวันและเครื่องแบบนักเรียน
7)
พื้นที่การแสดง
ใช้พื้นที่ห้องสตูดิโอ
ในการถ่ายทำการแสดง
8)
แสง
ใช้ทฤษฎีทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
ในการออกแบบแสงที่สื่อถึงบรรยากาศและอารมณ์ของการแสดง
นอกจากนี้ผู้วิจัยได้คำนึงถึงแนวคิดที่ได้หลังจากการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์
โดยคำนึงถึงแนวคิดสำคัญ
6
ประการ
การคำนึงถึงแนวคิดภาวะการเรียนรู้ถดถอย
การคำนึงถึงแนวคิดการสะท้อนปัญหาสังคมไทย
การคำนึงถึงความคิดสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยศิลป์
การคำนึงถึงการใช้สัญลักษณ์ในการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์
การคำนึงถึงการสื่อสารกับผู้ชม
และ
การคำนึงถึงทฤษฎีทางด้านศิลปกรรมศาสตร์
ซึ่งผลการวิจัยทั้งหมดนี้มีความสอดคล้องและตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทุกประการ